ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

หนังสือเล่มแรกในชีวิต "เจาะประเด็นเด่น เศรษฐกิจไทย"


จากที่ผมได้ทำบล็อคนี้ขึ้นมาตั้งแต่สมัยเรียนอยู่ในระดับป.ตรี ที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตอนนั้นผมได้เรียนวิชา Public Finance อาจารย์ก็จะมี paper ให้ทำเป็นประจำ ด้วยความเสียดาย จึงอยากเผยแพร่เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับคนที่สนใจ แล้วก็พบว่าการทำบล็อคเนี่ยแหละ เหมาะสมที่สุด เพราะทำง่าย เข้าถึงง่าย และไม่เสียเงิน 

กว่า 5 ปี มาแล้ว ที่ได้ทำบล็อค ด้วยความเป็นคนชอบเขียน ชอบอ่าน ตั้งแต่เด็กๆ อ่านทุกแนว ตั้งแต่นิยาย สารคดี ไปจนถึง how to พัฒนาตัวเองต่างๆ ความฝันสูงสุด นอกเหนือจากการเป็นนักเศรษฐศาสตร์ ทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ก็คือ การได้เห็นหนังสือของเรา วางขายในร้านหนังสือบ้าง 



จนกระทั่งวันนี้ ผมได้ใช้วิชาความรู้ที่ได้เรียนมา บวกกับประสบการณ์การทำงานจากสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง และมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดทำหนังสือชื่อ "เจาะประเด็นเด่น เศรษฐกิจไทย" สำนักพิมพ์ซีเอ็ด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในหลายๆ ด้าน โดยใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์เข้ามาช่วย 

เนื้อหาแบ่งออกเป็น 13 บท ดังนี้

บทที่ 1 หนี้เกษตรกรไทย
บทที่ 1 หนี้เกษตรกรและการแก้ไขปัญหาด้วยโครงการนาโนไฟแนนซ์ บทที่ 2 การจัดตั้งหน่วยงานจัดเก็บภาษีกึ่งอิสระ บทที่ 3 เศรษฐกิจปลอดเงินสด บทที่ 4 วิกฤตเศรษฐกิจจีน ยุด 2015 บทที่ 5 ดัชนีทุนมนุษย์ของไทย บทที่ 6 ความเหลื่อมล้ำทางรายได้รายจังหวัด บทที่ 7 ผลกระทบการขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่ม บทที่ 8 สถานการณ์การส่งออกดำดิ่ง บทที่ 9 ประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจของบังคลาเทศและปากีสถานต่อไทย บทที่ 10 ไทยพลาดอะไรจาก TPP บทที่ 11 FTA กับความเหลื่อมล้ำ บทที่ 12 เขตเศรษฐกิจพิเศษกับแรงงานข้ามชาติ

© Copy Right by SE-EDUCATION Public Company Limited.

อ่านเพิ่มเติมได้ที่: https://www.se-ed.com/product/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.aspx?no=9786160826766บทที่ 1 หนี้เกษตรกรและการแก้ไขปัญหาด้วยโครงการนาโนไฟแนนซ์
บทที่ 2 การจัดตั้งหน่วยงานจัดเก็บภาษีกึ่งอิสระ
บทที่ 3 เศรษฐกิจปลอดเงินสด
บทที่ 4 วิกฤตเศรษฐกิจจีน ยุด 2015  
บทที่ 5 ดัชนีทุนมนุษย์ของไทย  
บทที่ 6 ความเหลื่อมล้ำทางรายได้รายจังหวัด  
บทที่ 7 ผลกระทบการขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่ม  
บทที่ 8 สถานการณ์การส่งออกดำดิ่ง  
บทที่ 9 ประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจของบังคลาเทศและปากีสถานต่อไทย  
บทที่ 10 ไทยพลาดอะไรจาก TPP
บทที่ 11 FTA กับความเหลื่อมล้ำ 
บทที่ 12 เขตเศรษฐกิจพิเศษกับแรงงานข้ามชาติ
บทที่ 13 Brexit กับเศรษฐกิจไทย

ผมขอขอบพระคุณสำนักพิมพ์ซีเอ็ด เป็นอย่างสูงที่ให้โอกาสอาจารย์ตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ได้มีโอกาสทำในสิ่งที่ตนเองรัก และมีงานเขียนดีๆ ออกมาให้กับสังคม 

ช่องทางการจำหน่าย: ร้าน Se Ed ทั่วประเทศ 
เว็บไซต์:  เว็บไซต์หนังสือ

 
บทที่ 1 หนี้เกษตรกรและการแก้ไขปัญหาด้วยโครงการนาโนไฟแนนซ์ บทที่ 2 การจัดตั้งหน่วยงานจัดเก็บภาษีกึ่งอิสระ บทที่ 3 เศรษฐกิจปลอดเงินสด บทที่ 4 วิกฤตเศรษฐกิจจีน ยุด 2015 บทที่ 5 ดัชนีทุนมนุษย์ของไทย บทที่ 6 ความเหลื่อมล้ำทางรายได้รายจังหวัด บทที่ 7 ผลกระทบการขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่ม บทที่ 8 สถานการณ์การส่งออกดำดิ่ง บทที่ 9 ประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจของบังคลาเทศและปากีสถานต่อไทย บทที่ 10 ไทยพลาดอะไรจาก TPP บทที่ 11 FTA กับความเหลื่อมล้ำ บทที่ 12 เขตเศรษฐกิจพิเศษกับแรงงานข้ามชาติ

© Copy Right by SE-EDUCATION Public Company Limited.

อ่านเพิ่มเติมได้ที่: https://www.se-ed.com/product/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.aspx?no=9786160826766
บทที่ 1 หนี้เกษตรกรและการแก้ไขปัญหาด้วยโครงการนาโนไฟแนนซ์ บทที่ 2 การจัดตั้งหน่วยงานจัดเก็บภาษีกึ่งอิสระ บทที่ 3 เศรษฐกิจปลอดเงินสด บทที่ 4 วิกฤตเศรษฐกิจจีน ยุด 2015 บทที่ 5 ดัชนีทุนมนุษย์ของไทย บทที่ 6 ความเหลื่อมล้ำทางรายได้รายจังหวัด บทที่ 7 ผลกระทบการขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่ม บทที่ 8 สถานการณ์การส่งออกดำดิ่ง บทที่ 9 ประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจของบังคลาเทศและปากีสถานต่อไทย บทที่ 10 ไทยพลาดอะไรจาก TPP บทที่ 11 FTA กับความเหลื่อมล้ำ บทที่ 12 เขตเศรษฐกิจพิเศษกับแรงงานข้ามชาติ

© Copy Right by SE-EDUCATION Public Company Limited.

อ่านเพิ่มเติมได้ที่: https://www.se-ed.com/product/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.aspx?no=9786160826766

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รีวิวรถไฟความเร็วสูงปักกิ่ง-เซี้ยงไฮ้ ชั้น First Class: บทเรียนจากจีนสู่ไทย

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ อาจารย์ประจำภาควิชาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ผมมีโอกาสได้ไปทำวิจัยเรื่องศักยภาพสินค้าไก่ระหว่างไทย-จีน ณ ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 9 - 14 พฤษภาคม 2560 และได้มีโอกาสนั่งรถไฟความเร็วสูง (High-speed Train/Bullet Train) เส้นทางปักกิ่ง (Beijing) ไปเซี้ยงไฮ้ (Shanghai) จึงมารีวิวและเขียนข้อเสนอแนะเพิ่มเติมครับ รถไฟความเร็วสูงของจีน (High-speed rail; HSR) บริหารโดยรัฐวิสาหกิจที่มีชื่อว่า China Railway Corporation (คงคล้ายๆ กับรฟท.ของไทย) ได้ชื่อว่ามีโครงข่ายที่ยาวที่สุดในโลก (เพราะอาณาเขตพื้นที่ของจีนนั้นยิ่งใหญ่มหาศาลเหลือเกิน) มีเส้นทางรวมกันกว่า 22,000 กิโลเมตร และมีโครงการที่ขยายเส้นทางให้ครอบคลุมถึง 38,000 กิโลเมตรในอนาคต รถไฟความเร็วสูงของจีนเริ่มต้นให้บริการในปี พ.ศ. 2550 โดยมียอดการใช้บริการมากกว่า 1 พันล้านคนต่อปี เส้นทางของรถไฟความเร็วสูงปักกิ่ง-เซี้ยงไฮ้อยู่ที่ 1,318 กิโลเมตร เทียบได้กับเชียงใหม่-สุราษฏร์ธานี โดยให้บริการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 (เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2551) โดยเส้นทางดังกล่าวถือเป็นเส้นทางที่สร้างกำไรให้กั

กนง. ลดอัตราดอกเบี้ย ดีหรือไม่?

Photo Source: http://www.dailynews.co.th สรุปสั้นๆ>> "กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบายหวังกระตุ้นเศรษฐกิจ เหลือ 2.25 ธนาคารพาณิชย์ตอบรับด้วยการลดดอกเบี้ยทั้งฝากและกู้"  วิเคราะห์ >>  1. ดอกเบี้ย สามารถพิจารณาได้เป็น 2 อย่าง คือเป็นทั้งผลตอบแทน (Rewards) ของการฝากเงิน และเป็นต้นทุน (Cost) หรื อราคาของการกู้ ดังนัน หากลดอัตราดอกเบี้ยลง ย่อมจูงใจให้ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจเข้ามา "กู้เงิน" มากยิ่งขึ้น 2. สำหรับภาคธุรกิจ กู้เพื่อนำไปลงทุนหรือขยายกิจการ ซื้อเทคโนโลยี การตลาด ต่างๆ นานา การลงทุนของเอกชนนี้ หากเป็นการขยายร้านหรือลงทุนทางกายภาพ จะ"ส่งผลต่อเนื่อง"ไปยังตลาดสินค้าและบริการรวมถึงตลาดแรงงาน นับเป็นผลทางบวก 3. สำหรับภาคครัวเรือน การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จะเปิดโอกาสให้กู้เพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ได้มากขึ้น อย่างที่กล่าวว่าดอกเบี้ยคือราคาของการกู้ เมื่อราคาถูกลง ตามหลักอุปสงค์อุปทานพื้นฐาน ปริมาณเสนอซื้อหรือความต้องการซื้อหรือในที่นี่คือความต้องกู้ย่อมมากขึ้นเป็นธรรมดา อย่างไรก็ตามต้องมีการระวังในเรื่องของฟองสบู่ในตลาดอสังหาริมทรัพย์ เพราะวิกฤติฟองสบ

พม่า..ผืนแผ่นดินทอง

ข้อมูลพื้นฐานประเทศพม่า ประเทศพม่า (Burma  หรือ  Myanmar)  มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า "สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า" ( Republic of the Union of Myanmar ) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนทางแผ่นดินติดต่อกับ 5 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย จีน บังคลาเทศ ลาว และไทย ทั้งนี้ พม่าเคยอยู่ภายใต้อาณานิยมของอังกฤษในช่วง พ.ศ. 2367-2485 และ 2488-2491 ด้วยพื้นที่ 261 , 789 ตารางไมล์ ( 678 , 034 ตารางกิโลเมตร ) แบ่งเป็นพื้นที่ทางบก 657,740 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ทางน้ำ 20,760 ตารางกิโลเมตร   อาณาเขต                  ทางฝั่งตะวันตกอยู่ติดกับบังกลาเทศ ทางเหนือติดกับอินเดียและจีน   ทางตะวันออกติดกับลาวและไทย ทางตอนใต้ของประเทศจะอยู่ติดกับอ่าวเบงกอลและทะเล  อันดามัน จังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อกับพม่า มี 10 จังหวัด คือ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพรและระนอง   การปกครอง แบ่งเป็น 7 ภาคได้แก่ เขตอิระวดี เขตมาแกว เขตมัณฑะเลย์ เขตพะโค ( หงสาวดี) เขตสะกาย เขตตะนาวศรี และเขตย่างกุ้ง และ 7 รัฐ ได้แก่ รัฐยะไข่ รั