ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2012

Myanmar, reconsidered

              Myanmar, as you know, is military-based country. In recent years, there is some good news from Myanmar – one of the poorest countries in Southeast Asia. The situation of politics is better than ten years ago because of the internal and external pressure. Releasing of political prisoners and also Aung San Suu Kyi in 2010 until the election in April 2012 guarantees the improved political scenario. Parliament also passed the law to help encourage investment from foreign investor. The United State, E.U., and Australia started easing sanction. World Bank and E.U. have already opened their office while Dawei port is constructing assiduously. China – one of the greatest border trading partner – does not stop constructing the infrastructure in connecting Yunnan to other countries in Indochina region. Consequently, the world is now glaring at Myanmar. It is the fact that Myanmar has potential to become leader of Southeast Asia, economically, socially, and politically. This p

การปรับใช้แนวความคิด Offshore Assembly Provisions (OAPs) หรือ ภาษีการประกอบผลิตภัณฑ์นอกราชอาณาจักร สำหรับภาคการค้าระหว่างประเทศในประเทศไทย ในบริบทของความพึงพอใจของผู้บริโภคภายในประเทศและรายได้จากภาษีนำเข้าของรัฐบาลไทย

บทความโดย วรรณพงษ์   ดุรงคเวโรจน์                 การเก็บภาษีนำเข้า (Tariff) โดยส่วนมากแล้วนั้นเป็นการตอกย้ำนโยบายการปกป้องประเทศ (Protectionist Policy) แต่หากในส่วนของการปกป้องนั้นกลายเป็นผู้ผลิตภายในประเทศ ไม่ใช่ผู้บริโภคแต่อย่างใด ในแต่ละประเทศนั้นภาษีนำเข้ามีความแตกต่างหลากหลาย ทั้งนี้ในตัวอย่างของประเทศสหรัฐอเมริกาที่กำหนดภาษีนำเข้าอย่างหลากหลาย แต่ละประเทศที่ทำการค้ากับสหรัฐอเมริกาต้องเจอกับอัตราภาษีนำเข้าที่แตกต่างกัน ทั้งนี้มีรูปแบบหนึ่งของอัตราภาษีนำเข้าของประเทศสหรัฐอเมริกาที่น่าสนใจ เรียกว่า Offshore Assembly Provisions (OAPs) โดยชื่อในภาษาไทยนั้น ยังไม่มีผู้ตั้งไว้ แต่ผู้เขียนจะขอเรียกเป็น “ ภาษีการประกอบผลิตภัณฑ์นอกราชอาณาจักร ”  โดยปกตินั้น ภาษีนำเข้ามักเป็นเปอร์เซ็นต์จากมูลค่าของสินค้า (Ad volarem Tariffs) ซึ่ง OAPs นั้นเป็นการลดอัตราภาษีจากมูลค่าที่เกิดขึ้นในประเทศให้เหลือ 0% โดยส่วนที่เหลือที่ผลิตภายนอกประเทศนั้นจะถูกเก็บภาษีแทน แต่การเก็บภาษีในกรณีนี้จะต้องเป็นสินค้าที่ถูกผลิตในประเทศที่ทำ OAP และนำไปประกอบในประเทศตน ซึ่งจะหมายถึงการผลิตสินค้าช่วงกลาง