ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2014

Framework and application of Computable General Equilibrium (CGE) Model

Framework and Application of Computable General Equilibrium (CGE) Model November 2014 Wannaphong  Durongkaveroj Economic Researcher Fiscal Policy Research Institute, Bangkok, Thailand According to the most well-known and complex model in economics for the last 30 years, Computable General Equilibrium (CGE) model is a tool aimed to solve an economic problem based on perfectly competitive market.  However, the way to understand this model is not simple as the middle name, general, because it requires leaner to have an upper-intermediate knowledge of economics - at least Master's degree student. Why is it so difficult?  The reason is rationally simple. As assumed to be equilibrium, direct, indirect and induced effects take place in the market simultaneously. Commodity's price is a pure incentive of agents namely consumer, producer, government, and foreign buyer. Another aspect of the basic model is to be static which means that market takes time to be

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ (Environment Conservation with Economic Instruments)

วรรณพงษ์   ดุรงคเวโรจน์ นักวิจัยประจำสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง wannaphong@fispri.org/wannaphongd@gmail.com ___________________________________________________________________________________________________________________________________            ในวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาสเข้าฟังการบรรยายในหัวข้อ “การบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ องค์กร กฎหมาย และเครื่องมือทางการคลัง” โดย ดร. อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อาจารย์ประจำคณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ณ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช และต้องขอชมเชยผู้วิจัยเป็นอย่างมากเนื่องจากข้อมูลมีความครบถ้วนและสมบูรณ์           ในประเด็นเครื่องมือทางการคลัง ( Fiscal Instrument ) นั้น ได้เน้นไปที่พันธบัตรระบบนิเวศป่าไม้ ( Ecosystem Bond ) ที่ถูกพูดถึงในฐานะเครื่องมือแก้ไขปัญหาเรื่องงบประมาณของรัฐที่จำเป็นจะต้องจัดหาเพื่อบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ กลไกของพันธบัตรสิ่งแวดล้อมเริ่มตั้งแต่การที่มีหน่วยงานหรือองค์กรทำการออกพันธบัตร นอกจากนั้น ยังมีการเรียกเก็บรายได้จากผู้ที่ได้ประโยชน์

การค้าเสรีไทย-ปากีสถาน

ในวันอังคารที่ 19 สิงหาคมที่ผ่านมา ได้มีงานสัมมนา   "ปลดล็อคประตูการค้าไทย-ปากีสถาน"   สาขายานยนต์และชิ้นส่วน พลาสติก  เครื่องจักรกลและอิเล็กทรอนิกส์ อาหาร และสิ่งทอ   จัดโดย  สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง  ร่วมกับ  กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์  ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง  ชั้น 33 อาคารทิปโก้ พระราม 6 ได้รับเกียรติจาก คุณ วัชรี อิทธิอาวัชกุล นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กระทรวงพาณิชย์ ในการเปิดงานดังกล่าว    ภายในงาน มีการนำเสนอผลการศึกษา " การจัดทำความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับปากีสถาน "  โดยคุณวรรณพงษ์  ดุรงคเวโรจน์ นักวิจัย สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง  นอกจากนั้น มีการร่วมอภิปรายในประเด็น FTA ไทย-ปากีสถาน  โดย ดร. พิชญ์  นิตย์เสมอ ที่ปรึกษา สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ร่วมกับ  1)       ผู้แทนกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วน     คุณมิ่งพันธ์ ฉายาวิจิตรศิลป์ จาก สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย  2)       ผู้แทนกลุ่มอาหาร     คุณวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา ประธ