ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การค้าเสรีไทย-ตุรกี : ผลประโยชน์และผลกระทบจากการจัดทำความตกลงการค้าเสรี








ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน 2557  มีงานสัมมนาระดมความเห็นด้านการค้าเสรีไทย-ตุรกี งานสัมมนาประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ


 1. สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.) ซึ่งเป็นที่ปรึกษากรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ แสดงผลการศึกษาในเรื่องประโยชน์และผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าระหว่างไทย-ตุรกี ทั้งในภาพรวมและเจาะลงสาขาไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม และเครื่องจักร โดยทีมนักวิจัยจาก สวค. ประกอบด้วย คุณวรรณพงษ์  ดุรงคเวโรจน์ นักวิจัยจาก สวค. นำเสนอผลการศึกษาด้านการค้าในภาพรวม ผลประโยชน์ และผลกระทบจากการจัดทำความตกลงการค้าเสรี ดร. อนันตโชค  โอแสงธรรมนนท์ ผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยจาก สวค. นำเสนอผลการศึกษาด้านผลกระทบจากการค้าเสรีต่อสาขาไฟฟ้า อิเล็กทรอินิกส์ สิ่งทอและเคร่องนุ่งห่ม และเครื่องจักรกล ร่วมด้วย ดร.พิชญ์ นิตย์เสมอ รักษาการผู้อำนวยการ สวค. และ ดร. ธีธัช เชื้อประไพศิลป์ ผู้บริหารทีมการค้าและการลงทุน สวค.
วรรณพงษ์  ดุรงคเวโรจน์
นักวิจัย สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.)

 
ดร.พิชญ์  นิตย์เสมอ และ คุณเรวัติ หทัยสัตยพงศ์

ดร. อนันตโชค  โอแสงธรรมนนท์
ผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยจากสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.)




 2. วิทยากรจาก 6 ท่านมอบความรู้ เล่าประสบการณ์ทางด้านการค้าขายและโอกาสกับตุรกี ประกอบด้วย
คุณเรวัติ  หทัยสัตยพงศ์
C.P.F. (Thailand)
 1. คุณเรวัติ  หทัยสัตยพงศ์ รองกรรมการผู้จัดการบริหาร บริษัท ซี.พี.เอฟ. (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
คุณชาญศิลป์  ตรีนุชกร
IRPC
 2. คุณชาญศิลป์  ตรีนุชกร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษัท ไออาร์ซีพี          จำกัด (มหาชน)
คุณกรกฎ  กิตติพล
ไทยฮั้ว
 3. คุณกรกฏ  กิตติพล  ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท ไทยฮั้ว ยางพารา จำกัด (มหาชน)
คุณสลิดา  หวังจิ
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 4. คุณสลิดา หวังจิ ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
คุณฐิติพันธุ์  ธัชสิริปุณณวิช
รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม
 5. คุณฐิติพันธุ์  ธัชสิริปุณณวิช รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม           สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 
 
คุณพงษ์ศักดิ์  อัสสกุล
ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ
6. คุณพงษ์ศักดิ์  อัสสกุล ประธานสหพันธุ์อุตสาหกรรมสิ่งทอ และ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 

สำหรับข้อมูลในงานสัมมนา (เอกสารเผยแพร่) ติดต่อที่ wannaphong@fispri.org หรือ wannaphongd@gmail.com / 02-357-3490 ต่อ 219






Free Trade Agreement Between Thailand and Turkey
Seminar on Economic Impacts


 In June 18, 2014, there was a seminar set by Fiscal Policy Research Institute (Thailand) and Department of Trade Negotiation under Ministry of Commerce. The two main contents including



 1) Fiscal Policy Research Institute (FPRI) as academic consultant of Department of Trade Negotiation under Ministry of Commerce published its results of study in the topic of "Economic Impacts of Free Trade Agreement between Thailand and Turkey" which was presented by Mr. Wannaphong  Durongkaveroj (FPRI Researcher)  for impacts of tradeliberalzation using Trade Index (RCA, TSI) and Computable General Equilibrium (CGE) model by GTAP 8.0, Anantachoke   Osangthammanont, Ph.D. (FPRI Expert and Economist ) for  impacts borne to three specific sectors including electronics, textiles, and machinery, along with Pitch Nitsmer, Ph.D. (Acting Director of FPRI) and Thethach Chuaprapaisilp, Ph.D. (FPRI Head of Trade and Investment Team) 


 2) There were 6 speakers who narrate his or her experiences about trade with Turkey and also views on Turkey's market including


1. Mr. Rewat Hathaisattayapong from Charoen  Pokphand Food Plc (CPF)
 2. Mr. Chansin  Treenuchagron from IRPC Plc
3. Mr. Korakod  Kittipol from Thaihua Rubber Plc
4. Ms. Sulida  Wangchi from the Halal Science Center (Chulalongkorn University)
5. Mr. Thitipan  Thatsiripunnawithi from the Federation of Thai Industries
6. Mr. Phongsak  Assakul from the Federation of Thai Industries


For more detail about this seminar (publication paper), please contact wannaphong@fispri.org or wannaphongd@gmail.com // 02-357-3490 Ext. 219.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รีวิวรถไฟความเร็วสูงปักกิ่ง-เซี้ยงไฮ้ ชั้น First Class: บทเรียนจากจีนสู่ไทย

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ อาจารย์ประจำภาควิชาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ผมมีโอกาสได้ไปทำวิจัยเรื่องศักยภาพสินค้าไก่ระหว่างไทย-จีน ณ ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 9 - 14 พฤษภาคม 2560 และได้มีโอกาสนั่งรถไฟความเร็วสูง (High-speed Train/Bullet Train) เส้นทางปักกิ่ง (Beijing) ไปเซี้ยงไฮ้ (Shanghai) จึงมารีวิวและเขียนข้อเสนอแนะเพิ่มเติมครับ รถไฟความเร็วสูงของจีน (High-speed rail; HSR) บริหารโดยรัฐวิสาหกิจที่มีชื่อว่า China Railway Corporation (คงคล้ายๆ กับรฟท.ของไทย) ได้ชื่อว่ามีโครงข่ายที่ยาวที่สุดในโลก (เพราะอาณาเขตพื้นที่ของจีนนั้นยิ่งใหญ่มหาศาลเหลือเกิน) มีเส้นทางรวมกันกว่า 22,000 กิโลเมตร และมีโครงการที่ขยายเส้นทางให้ครอบคลุมถึง 38,000 กิโลเมตรในอนาคต รถไฟความเร็วสูงของจีนเริ่มต้นให้บริการในปี พ.ศ. 2550 โดยมียอดการใช้บริการมากกว่า 1 พันล้านคนต่อปี เส้นทางของรถไฟความเร็วสูงปักกิ่ง-เซี้ยงไฮ้อยู่ที่ 1,318 กิโลเมตร เทียบได้กับเชียงใหม่-สุราษฏร์ธานี โดยให้บริการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 (เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2551) โดยเส้นทางดังกล่าวถือเป็นเส้นทางที่สร้างกำไรให้กั...

กนง. ลดอัตราดอกเบี้ย ดีหรือไม่?

Photo Source: http://www.dailynews.co.th สรุปสั้นๆ>> "กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบายหวังกระตุ้นเศรษฐกิจ เหลือ 2.25 ธนาคารพาณิชย์ตอบรับด้วยการลดดอกเบี้ยทั้งฝากและกู้"  วิเคราะห์ >>  1. ดอกเบี้ย สามารถพิจารณาได้เป็น 2 อย่าง คือเป็นทั้งผลตอบแทน (Rewards) ของการฝากเงิน และเป็นต้นทุน (Cost) หรื อราคาของการกู้ ดังนัน หากลดอัตราดอกเบี้ยลง ย่อมจูงใจให้ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจเข้ามา "กู้เงิน" มากยิ่งขึ้น 2. สำหรับภาคธุรกิจ กู้เพื่อนำไปลงทุนหรือขยายกิจการ ซื้อเทคโนโลยี การตลาด ต่างๆ นานา การลงทุนของเอกชนนี้ หากเป็นการขยายร้านหรือลงทุนทางกายภาพ จะ"ส่งผลต่อเนื่อง"ไปยังตลาดสินค้าและบริการรวมถึงตลาดแรงงาน นับเป็นผลทางบวก 3. สำหรับภาคครัวเรือน การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จะเปิดโอกาสให้กู้เพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ได้มากขึ้น อย่างที่กล่าวว่าดอกเบี้ยคือราคาของการกู้ เมื่อราคาถูกลง ตามหลักอุปสงค์อุปทานพื้นฐาน ปริมาณเสนอซื้อหรือความต้องการซื้อหรือในที่นี่คือความต้องกู้ย่อมมากขึ้นเป็นธรรมดา อย่างไรก็ตามต้องมีการระวังในเรื่องของฟองสบู่ในตลาดอสังหาริมทรัพย์ เพราะวิกฤติฟองสบ...

พม่า..ผืนแผ่นดินทอง

ข้อมูลพื้นฐานประเทศพม่า ประเทศพม่า (Burma  หรือ  Myanmar)  มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า "สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า" ( Republic of the Union of Myanmar ) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนทางแผ่นดินติดต่อกับ 5 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย จีน บังคลาเทศ ลาว และไทย ทั้งนี้ พม่าเคยอยู่ภายใต้อาณานิยมของอังกฤษในช่วง พ.ศ. 2367-2485 และ 2488-2491 ด้วยพื้นที่ 261 , 789 ตารางไมล์ ( 678 , 034 ตารางกิโลเมตร ) แบ่งเป็นพื้นที่ทางบก 657,740 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ทางน้ำ 20,760 ตารางกิโลเมตร   อาณาเขต                  ทางฝั่งตะวันตกอยู่ติดกับบังกลาเทศ ทางเหนือติดกับอินเดียและจีน   ทางตะวันออกติดกับลาวและไทย ทางตอนใต้ของประเทศจะอยู่ติดกับอ่าวเบงกอลและทะเล  อันดามัน จังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อกับพม่า มี 10 จังหวัด คือ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพรและระนอง   การปกครอง แบ่งเป็น 7 ภาคได้แก่ เขตอิระว...