ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

วิเคราะห์ภาษีคนโสด


เมื่อย้อนดูงานวิจัยของนักวิชาที่เสนอ "ภาษีคนโสด" นั้น ไม่แปลกใจที่ทำไมถึงเกิดความคิดนี้ขึ้นเพราะคนเสนอเป็นนักเศรษฐศาสตร์กระแสรอง แนวสวัสดิการสังคม คุ้นเคยกับฟังก์ชันของจอห์นรอลส์ รัฐสวัสดิการ และการเก็บภาษีเป็นอย่างไร เข้าใจ "แขนสองข้าง" ของรัฐบาล 

ในอดีต มี Tax for childlessness ใน สหภาพโซเวียต(1941) และส่งต่อมายังรัสเซียและยูเครน
และประเทศไทยเคยมี "ภาษีชายโสด" มาแล้ว


ทั้งนี้ มีความจริง 2 ข้อ ที่ต้องเข้าใจ1. ภาษีคนโสด ยังคงเป็นแนวความคิดที่ยังไม่ลงลึกถึงรายละเอียด คำว่าภาษี มันติดปากนักเศรษฐศาสตร์สายนี้อยู่แล้ว ขอยืนยัน ภาษีคือหนึ่งใน Economic incentive ที่นับว่าได้ผลอย่างหนึ่ง

2. ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว เพราะประชากรเกินกว่าร้อยละ 10 มีอายุเกิน 60 ปี แต่ยังไม่รุนแรงดังในญี่ปุ่น ในความเป็นจริง นโยบายกระตุ้นการมีครอบครัวมีหลายนโยบาย เราสามารถใช้ Economic Incentive มาเป็น "motive" เบื้องหลังการเปลี่ยนแปลฝได้ เช่น นโยบายส่งเสริมการมีบุตร รัฐเข้ามา subsidize ราคาอุปกรณ์การเรียน ค่าตำรา เป็นต้น ซึ่งมีงานวิจัยรองรับความสำเร็จไว้อย่างมากมาย

ดังนั้น "ภาษีคนโสด" ไม่ใช่เรื่องแปลก แต่เราอาจไม่คุ้นเคยกับวิธีการของ Economic Incentive เท่านั้นเอง 

2. ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว เพราะประชากรเกินกว่าร้อยละ 10 มีอายุเกิน 60 ปี แต่ยังไม่รุนแรงดังในญี่ปุ่น ในความเป็นจริง นโยบายกระตุ้นการมีครอบครัวมีหลายนโยบาย เราสามารถใช้ Economic Incentive มาเป็น "motive" เบื้องหลังการเปลี่ยนแปลฝได้ เช่น นโยบายส่งเสริมการมีบุตร รัฐเข้ามา subsidize ราคาอุปกรณ์การเรียน ค่าตำรา เป็นต้น ซึ่งมีงานวิจัยรองรับความสำเร็จไว้อย่างมากมาย 
ดังนั้น "ภาษีคนโสด" ไม่ใช่เรื่องแปลก แต่เราอาจไม่คุ้นเคยกับวิธีการของ Economic Incentive เท่านั้นเอง 2. ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว เพราะประชากรเกินกว่าร้อยละ 10 มีอายุเกิน 60 ปี แต่ยังไม่รุนแรงดังในญี่ปุ่น ในความเป็นจริง นโยบายกระตุ้นการมีครอบครัวมีหลายนโยบาย เราสามารถใช้ Economic Incentive มาเป็น "motive" เบื้องหลังการเปลี่ยนแปลฝได้ เช่น นโยบายส่งเสริมการมีบุตร รัฐเข้ามา subsidize ราคาอุปกรณ์การเรียน ค่าตำรา เป็นต้น ซึ่งมีงานวิจัยรองรับความสำเร็จไว้อย่างมากมาย ดังนั้น "ภาษีคนโสด" ไม่ใช่เรื่องแปลก แต่เราอาจไม่คุ้นเคยกับวิธีการของ Economic Incentive เท่านั้นเอง 



ข้อดี เพิ่มรายได้รัฐ , กระตุ้นการมีครอบครัว, มี labor force, สามารถคาดหวังการขยายการผลิตในอนาคตได้

 ข้อเสีย ภาษีมี deadweight loss สูง, ผลกระทบทางอ้อมเชิงลบต่อภาคส่วนอื่น , ภาระประชาชนเพิ่มในกรณีคนที่ยังโสด , และสุดท้าย ไม่อาจคาดหวังผลด้านการเพิ่มประชากรที่มีคุณภาพ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รีวิวรถไฟความเร็วสูงปักกิ่ง-เซี้ยงไฮ้ ชั้น First Class: บทเรียนจากจีนสู่ไทย

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ อาจารย์ประจำภาควิชาเศรษฐศาสตร์การพัฒนา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ผมมีโอกาสได้ไปทำวิจัยเรื่องศักยภาพสินค้าไก่ระหว่างไทย-จีน ณ ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 9 - 14 พฤษภาคม 2560 และได้มีโอกาสนั่งรถไฟความเร็วสูง (High-speed Train/Bullet Train) เส้นทางปักกิ่ง (Beijing) ไปเซี้ยงไฮ้ (Shanghai) จึงมารีวิวและเขียนข้อเสนอแนะเพิ่มเติมครับ รถไฟความเร็วสูงของจีน (High-speed rail; HSR) บริหารโดยรัฐวิสาหกิจที่มีชื่อว่า China Railway Corporation (คงคล้ายๆ กับรฟท.ของไทย) ได้ชื่อว่ามีโครงข่ายที่ยาวที่สุดในโลก (เพราะอาณาเขตพื้นที่ของจีนนั้นยิ่งใหญ่มหาศาลเหลือเกิน) มีเส้นทางรวมกันกว่า 22,000 กิโลเมตร และมีโครงการที่ขยายเส้นทางให้ครอบคลุมถึง 38,000 กิโลเมตรในอนาคต รถไฟความเร็วสูงของจีนเริ่มต้นให้บริการในปี พ.ศ. 2550 โดยมียอดการใช้บริการมากกว่า 1 พันล้านคนต่อปี เส้นทางของรถไฟความเร็วสูงปักกิ่ง-เซี้ยงไฮ้อยู่ที่ 1,318 กิโลเมตร เทียบได้กับเชียงใหม่-สุราษฏร์ธานี โดยให้บริการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 (เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2551) โดยเส้นทางดังกล่าวถือเป็นเส้นทางที่สร้างกำไรให้กั...

กนง. ลดอัตราดอกเบี้ย ดีหรือไม่?

Photo Source: http://www.dailynews.co.th สรุปสั้นๆ>> "กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบายหวังกระตุ้นเศรษฐกิจ เหลือ 2.25 ธนาคารพาณิชย์ตอบรับด้วยการลดดอกเบี้ยทั้งฝากและกู้"  วิเคราะห์ >>  1. ดอกเบี้ย สามารถพิจารณาได้เป็น 2 อย่าง คือเป็นทั้งผลตอบแทน (Rewards) ของการฝากเงิน และเป็นต้นทุน (Cost) หรื อราคาของการกู้ ดังนัน หากลดอัตราดอกเบี้ยลง ย่อมจูงใจให้ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจเข้ามา "กู้เงิน" มากยิ่งขึ้น 2. สำหรับภาคธุรกิจ กู้เพื่อนำไปลงทุนหรือขยายกิจการ ซื้อเทคโนโลยี การตลาด ต่างๆ นานา การลงทุนของเอกชนนี้ หากเป็นการขยายร้านหรือลงทุนทางกายภาพ จะ"ส่งผลต่อเนื่อง"ไปยังตลาดสินค้าและบริการรวมถึงตลาดแรงงาน นับเป็นผลทางบวก 3. สำหรับภาคครัวเรือน การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จะเปิดโอกาสให้กู้เพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ได้มากขึ้น อย่างที่กล่าวว่าดอกเบี้ยคือราคาของการกู้ เมื่อราคาถูกลง ตามหลักอุปสงค์อุปทานพื้นฐาน ปริมาณเสนอซื้อหรือความต้องการซื้อหรือในที่นี่คือความต้องกู้ย่อมมากขึ้นเป็นธรรมดา อย่างไรก็ตามต้องมีการระวังในเรื่องของฟองสบู่ในตลาดอสังหาริมทรัพย์ เพราะวิกฤติฟองสบ...

พม่า..ผืนแผ่นดินทอง

ข้อมูลพื้นฐานประเทศพม่า ประเทศพม่า (Burma  หรือ  Myanmar)  มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า "สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า" ( Republic of the Union of Myanmar ) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนทางแผ่นดินติดต่อกับ 5 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย จีน บังคลาเทศ ลาว และไทย ทั้งนี้ พม่าเคยอยู่ภายใต้อาณานิยมของอังกฤษในช่วง พ.ศ. 2367-2485 และ 2488-2491 ด้วยพื้นที่ 261 , 789 ตารางไมล์ ( 678 , 034 ตารางกิโลเมตร ) แบ่งเป็นพื้นที่ทางบก 657,740 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ทางน้ำ 20,760 ตารางกิโลเมตร   อาณาเขต                  ทางฝั่งตะวันตกอยู่ติดกับบังกลาเทศ ทางเหนือติดกับอินเดียและจีน   ทางตะวันออกติดกับลาวและไทย ทางตอนใต้ของประเทศจะอยู่ติดกับอ่าวเบงกอลและทะเล  อันดามัน จังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อกับพม่า มี 10 จังหวัด คือ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพรและระนอง   การปกครอง แบ่งเป็น 7 ภาคได้แก่ เขตอิระว...