ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2013

ภาพรวม เศรษฐกิจไทยปี 56

สรุปสภาวะเศรษฐกิจไทย ภาพรวมปี 2556                 เริ่มตั้งแต่ต้นปี หากยังจำกันได้ค่าเงินบาทอยู่ในช่วง 30 - 30.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และจากนโยบาย Quantitative Easing หรือ QE จากประเทศสหรัฐอเมริกาที่ออกมาเพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในปี 2555 และด้วยความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยนโยบายระหว่างสหรัฐอเมริกากับภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้นักลงทุนหันมาสนใจนำเงินมาลงทุนในตลาดหุ้นไทยอย่างต่อเนื่อง ตลาดหุ้นคึกคัก เริ่มต้นไตรมาสถัดไป ตลาดหุ้นพุ่งทะยานไปแตะ 1,630 สูงสุดเป็นประวัติการณ์ในรอบหลายปี อย่างไรก็ตาม จากการที่เงินดอลลาร์มีปริมาณมากขึ้น ทำให้เกิดผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยน ทำให้ยิ่งแข็งค่าเข้าไปใหญ่หลุด 28 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งปัญหาบาทแข็งนี้เองได้สร้างความตึงเครียดให้กับภาครัฐบาลผ่านรมว.คลัง มีความพยายามที่จะให้ กนง. ลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อลดผลตอบแทนในตลาดทุนของประเทศไทย แต่ดูเหมือนว่าความพยายามไม่เป็นผล กนง.ไม่ลดอัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้ผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนไม่ได้เกิดขึ้น ณ...

กนง. ลดอัตราดอกเบี้ย ดีหรือไม่?

Photo Source: http://www.dailynews.co.th สรุปสั้นๆ>> "กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบายหวังกระตุ้นเศรษฐกิจ เหลือ 2.25 ธนาคารพาณิชย์ตอบรับด้วยการลดดอกเบี้ยทั้งฝากและกู้"  วิเคราะห์ >>  1. ดอกเบี้ย สามารถพิจารณาได้เป็น 2 อย่าง คือเป็นทั้งผลตอบแทน (Rewards) ของการฝากเงิน และเป็นต้นทุน (Cost) หรื อราคาของการกู้ ดังนัน หากลดอัตราดอกเบี้ยลง ย่อมจูงใจให้ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจเข้ามา "กู้เงิน" มากยิ่งขึ้น 2. สำหรับภาคธุรกิจ กู้เพื่อนำไปลงทุนหรือขยายกิจการ ซื้อเทคโนโลยี การตลาด ต่างๆ นานา การลงทุนของเอกชนนี้ หากเป็นการขยายร้านหรือลงทุนทางกายภาพ จะ"ส่งผลต่อเนื่อง"ไปยังตลาดสินค้าและบริการรวมถึงตลาดแรงงาน นับเป็นผลทางบวก 3. สำหรับภาคครัวเรือน การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จะเปิดโอกาสให้กู้เพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ได้มากขึ้น อย่างที่กล่าวว่าดอกเบี้ยคือราคาของการกู้ เมื่อราคาถูกลง ตามหลักอุปสงค์อุปทานพื้นฐาน ปริมาณเสนอซื้อหรือความต้องการซื้อหรือในที่นี่คือความต้องกู้ย่อมมากขึ้นเป็นธรรมดา อย่างไรก็ตามต้องมีการระวังในเรื่องของฟองสบู่ในตลาดอสังหาริมทรัพย์ เพราะวิกฤติฟองสบ...

Changes in Thai Culture

Photo Source: www.chiangmai-chiangrai.com              In the last weekend, I interviewed my mother via the phone (she lives in Chumphon) about cultural changes. She said that there were many things changed but the most obvious field is clothing- it is quite different from the past. Men, in general,wore loincloth (pah-kah-mah), woven (pah-tor) and cotton shirts while women wore wrap-around skirt (pah-sin), Sarong,and long cotton skirts. When she was young, she wore round-necked sleeveless collar(Krachao shirt)with Panung. There were no shirts, T-shirts, jeans, synthetic fiber, or shorts. Furthermore, people were likely to wear in the dark tone, for instance, black, brown, and dark blue but her closet now is teemed with the colorful clothes. People carried the Rattan basket (ta-ka-wai) so as to go shopping at the local market but at the present time people carry leather handbags instead. Moreover, women always wore silver jewelry but they prefer ...

Impacts of Exogenous Shocks in Selected Region using GTAP

Impacts of Exogenous Shocks in Selected Region using GTAP by Wannaphong Durongkaveroj Photo source: https://www. gtap .agecon.purdue.edu/ ‎             GTAP is a well - documented software using mainly for generating economic impacts from exogenous shock. GTAP database is well organized with double account balance containing mainly bilateral and multilateral trade data among various countries around the world. GTAP Data Base also provides a consistent snapshot of the global economy. Moreover, it is possible to extract Social Account Matrices (SAM) and Input - Output Table from GTAP. To the extent, it is able to use data in applying to many kinds of analysis, for example, poverty reduction from policy or environmental impacts.             For data source in GTAP, it is collected from two main sources. First, regional input - output table, typically from nation...