ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2013

วิเคราะห์ภาษีคนโสด

เมื่อย้อนดูงานวิจัยของนักวิชาที่ เสนอ "ภาษีคนโสด" นั้น ไม่แปลกใจที่ทำไมถึงเกิดความคิดนี้ ขึ้นเพราะคนเสนอเป็นนักเศรษฐศาส ตร์กระแสรอง แนวสวัสดิการสังคม คุ้นเคยกับฟังก์ชันของจอห์นรอลส์  รัฐสวัสดิการ และการเก็บภาษีเป็นอย่างไร เข้าใจ "แขนสองข้าง" ของรัฐบาล  ในอดีต มี Tax for childlessness ใน สหภาพโซเวียต(1941) และส่งต่อมายังรัสเซียและยูเครน และประเทศไทยเคยมี "ภาษีชายโสด" มาแล้ว ทั้งนี้ มีความจริง 2 ข้อ ที่ต้องเข้าใจ 1. ภาษีคนโสด ยังคงเป็นแนวความคิดที่ยังไม่ลง ลึกถึงรายละเอียด คำว่าภาษี มันติดปากนักเศรษฐศาสตร์สายนี้อ ยู่แล้ว ขอยืนยัน ภ าษีคือหนึ่งใน Economic incentive ที่นับว่าได้ผลอย่างหนึ่ง 2. ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว เพราะประชากรเกินกว่าร้อยละ 10 มีอายุเกิน 60 ปี แต่ยังไม่รุนแรงดังในญี่ปุ่น ในความเป็นจริง นโยบายกระตุ้นการมีครอบครัวมีหล ายนโยบาย เราสามารถใช้ Economic Incentive มาเป็น "motive" เบื้องหลังการเปลี่ยนแปลฝได้ เช่น นโยบายส่งเสริมการมีบุตร รัฐเข้ามา subsidize ราคาอุปกรณ์การเรียน ค่าตำรา เป็นต้น ซึ่งมีงานวิจัยรองรับความสำเร็จ...